Back to English
b777.jpg      B 777,บริษัทโบอิ้งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการเมื่อเดือนมิ.ย.1995 ประกาศโครงการ ผลิต B777-300 ที่การแสดง ปารีส แอร์โชว์ ในปีเดียวกันและได้ส่งเครื่องให้ สายการบินในเดือน มิ.ย. 1998 B777-300 มีลำตัวยาวกว่า B777-200 อยู่ถึง 33 ฟุต (10 เมตร) สามารถบรรทุกผู้โดยสารเพิ่มขึ้นจาก 368 คน เป็น 386 คน
       Boeing 777 เป็นเครื่องบินโดยสารลำแรกที่ออกแบบทั้งหมดโดย Computer รูปภาพสามมิติ และเครื่องบินก็ยังทดลองประกอบครั้งแรกโดย Computer ด้วยเช่นกัน เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการที่จะสร้างขึ้นมาแล้วนำมาประกอบจริงๆในขั้นต้น เครื่องรุ่นนี้เป็นรุ่นที่ใหญ่ที่สุดในจำนวนเครื่องบินที่ใช้เครื่องยนต์ สองและสามเครื่องยนต์ในปัจจุบัน แต่ยังเล็กกว่า B-747

รายละเอียดเพิ่มเติม Click ที่นี่
 
 
Portico Residence
 
 

       A 350 : Airbus A350 เป็นเครื่องที่ใช้ทำการบินระยะไกลสำหรับสายการบิน Airbus ฟังเสียงจากสายการบินที่ต้องการเครื่องขนาดกลางแต่สามารถบินได้ระยะทางไกลขึ้น และเป็นการเติมให้เต็มความต้องการของเครื่องบินลำตัวกว้างตระกูล airbus ดังนั้น airbus จึงสร้าง A350 ขึ้นมา 2 แบบคือ A350-800 และ A350-900 โดยใช้พื้นฐานของ A330-200 และ A330-300 ภายในลำตัวของ A350 จะกว้างกว่า A330 อยู่ประมาณ 3 นิ้ว แต่ระยะทำการบินจะเพิ่มขึ้นประมาณ 1000 ไมล์ หรือมากกว่า ถึงแม้ว่าเครื่อง A350 จะมีเครื่องต้นแบบมาจาก A330 แต่ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นอย่างมากเหมือนเครื่องใหม่

รายละเอียดเพิ่มเติม Click ที่นี่
Airbus A350
 
A-380
     A 380 : A380 เป็นตระกูลเครื่องบินขนาดใหญ่ แบ่งห้องผู้โดยสารเป็นชั้นบน และชั้นล่าง การออกแบบครั้งแรก A380-800 สามารถบรรทุกผู้โดยสารได้ 555 คน A 380 จะทำการบินครั้งแรกในปี 2005 และ จะเข้าประจำการในเดือนตุลาคม ปี 2007 สายการบินแรก ที่จะได้รับเครื่องคือ สิงคโปร์ แอร์ไลน์ ปัจจุบัน มีสายการบินที่แสดงความจำนงที่จะซื้อเครื่องบิน A380 ซึ่งรวมถึง Thai Airways International ที่ได้สั่งซื้อ A380-800 จำนวน 6 ลำ

รายละเอียดเพิ่มเติม Click ที่นี่
 

     F-35 :เครื่องบินรบของอเมริกันลำล่าสุด และใหม่สุดจะเป็น F-35 Joint Strike Fighter (JSF) สร้างขึ้นโดยบริษัท Lockheed Martin . บริษัทที่ร่วมทำการสร้างกับบริษัท Lockheed Martin ได้แก่ Northrop Grumman, BAE Systems, Pratt & Whitney and Rolls-Royce.ชิ้นส่วนที่สำคัญ จะทำการสร้างโดยบริษัท Northrop Grumman. บริษัท BAE Systems จะรับผิดชอบ โครงสร้างลำตัวส่วนท้าย แพนหาง กระโดงหาง และอุปกรณ์ที่ใช้ในการพับปีก โดยใช้ประสบการณ์ จากเครื่อง Harrier STOVL (บินขึ้นด้วยระยะทางที่สั้นและลงในแนวดิ่ง) เครื่องในตระกูล F-35 ก็มีรุ่น F-35A, F-35B และ F-35C ซึ่งจะเหมือนกัน ในรูปร่างหน้าตา และขนาด มีเครื่องยนต์ที่มีพื้นฐาน ต้นแบบ เดียวกัน

รายละเอียดเพิ่มเติม Click ที่นี่
F-35
 
Boeing 787
     B-787 : Boeing B-787 Dreamliner สามารถบรรทุกผู้โดยสารได้ 200-250 คน โดยจัดที่นั่งแบบ สามชั้น มีสองช่องทางเดิน บินในระยะทางระหว่าง 7,200 ถึง 8,000 ไมล์อากาศ หรือประมาณ 13,334 ถึง 14,816 กิโลเมตร เครื่องบินรุ่นนี้กำหนดไว้ว่าจะใช้เชื้อเพลิงประหยัดลงได้ถึง 15 ถึง 20 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับเครื่องบินลำตัวกว้างในปัจจุบัน B-787 ได้ทำการทดลองบินครั้งแรกวันที่ 15 ธันวาคม 2552 และจะส่งมอบให้สายการบิน ANA แล้วเป็นสายการบินแรก

รายละเอียดเพิ่มเติม Click ที่นี่
 

     Aircraft Peopellers :Thrust เป็นระบบที่สร้างขึ้น เพื่อใช้ผลักดันอากาศยาน ซึ่งมีอยู่หลายแบบและหลายวิธีการในการสร้างระบบผลักดันนี้ขึ้นมา ถึงแม้ว่ามันจะอาศัย โดยใช้กฎของ Newton ข้อที่สาม ใบพัดก็เป็นหนึ่งในระบบขับเคลื่อนอากาศยาน จุดมุ่งหมายของ ใบพัดก็คือการขับเคลื่อนอากาศยาน ให้เคลื่อนที่ไปในอากาศ

For More Detail Click Here
Aircraft Propeller
 

     Aircraft Engines :เครื่องยนต์ Jet เป็นเครื่องจักรที่ถูกออกแบบมา เพื่อให้ผลิตหรือสร้าง กาซที่มีความเร็วสูง ไหลผ่านช่องที่กำหนด. เครื่องยนต์เริ่มต้นการหมุน compressor ด้วย starter , อากาศจากภายนอกเครื่องยนต์ ก็จะถูกดูดเข้าเครื่องยนต์

For More Detail Click Here
 

     Aircraft Navigation :GPS (Global Positioning System) เป็นระบบเดียวในปัจจุบัน ที่สามารถแสดงตำแหน่ง ที่อยู่ที แน่นอน ว่าอยู่ ณ. ตำแหน่งใดบนพื้นโลก ได้ทุกเวลา ทุกสภาพอากาศ ระบบนี้มีดาวเทียม 24 ดวง หมุนอยู่รอบโลก อยู่สูงขึ้นไป 11,000 nautical miles จากพื้นโลก ดาวเทียม หมุนรอบโลก แบ่งเป็น 6 ระนาบ ระนาบละ 4 ดวง

รายละเอียดเพิ่มเติม Click ที่นี่
 

     Helicopter :โดยทั่วไป เฮลิคอปเตอร์
จะมีใบพัดอยู่สองชุด ชุดที่มีใบพัดใหญ่ จะเรียกว่า  main rotors, ซึ่งหันใบพัดขึ้นข้างบน จะมีใบพัดสองใบ หรือมากกว่า และใบพัดนี้ สร้างแรงยก Lift สำหรับการบิน ชุดที่สอง จะมีใบพัดเล็กกว่าชุดแรกมาก ติดตั้งในแนวตั้ง อยู่ที่ปลายหาง ของเฮลิคอปเตอร์. ใบพัด ชุดเล็ก นี้ เรียกว่า ใบพัด ต่อต้านอาการหมุนของลำตัว หรือเรียกว่า tail rotor การทำงานของ tail rotor ก็คือต่อต้านอาการหมุนของลำตัว ของเฮลิคอปเตอร์ เนื่องจากแรงที่ใช้หมุนใบพัดชุดใหญ่ main rotor

รายละเอียด เพิ่มเติม Click ที่นี่
 

     เครื่องบิน: แน่นอนนกเป็นตัวที่ก่อให้เกิดเรื่องราว ที่สลับซับซ้อนนี้ขึ้นมา และมีคนๆ หนึ่ง ที่มีสมองทางวิทยาศาสตร์ ได้เริ่มคิดอย่างจริงจัง ที่จะให้ความฝัน ของมนุษย์ นั้นเป็นจริง เขาคือ Leonado da Vinci (1452-1519). มันจะมีแรงอยู่สี่แรง ที่กระทำต่อเครื่องบิน ขณะที่เครื่องบินนั้น บินอยู่ ตลอดเวลา และแรงทั้งสี่นั้นก็คือ : (1) แรงยก, (2) แรงดึงดูดของโลก ที่กระทำต่อเครื่องบิน หรือน้ำหนักของเครื่องบินทั้งหมด, (3) แรงดึง หรือ แรงผลักที่ทำให้เครื่องบิน เคลื่อนที่ไปข้างหน้า, และ (4) แรงต้านทานที่ต้านเครื่องบิน

รายละเอียดเพิ่มเติม Click ที่นี่
 

     The Moon :ดวงจันทร์มวล=7.349e+22 ก.ก. หรือ = 1.2298e-02 เท่าของโลก; รัศมีที่ศูนย์สูตร = 1,737.4 ก.ม; ระยะทางจากโลก = 384,400 ก.ม.; แรงโน้มถ่วง=1.62 เมตร / วินาที / วินาที หรือ 16%ของโลก; อุณหภูมิกลางวัน =107C, และกลางคืน= -153C; ความเร็วโคจร=1.03 ก.ม./ วินาที; ความหนาแน่น = 3.34 กรัม / ลบ.ซ.ม:

รายละเอียดเพิ่มเติม Click ที่นี่
 
Portico Residence
 
 
ฟังเพลงของสายการบิน ->click:
 
Thai Airways Song -->   Smooth As Silk    We reach for the sky   Wings of THAI   
      สัมผัสจากใจ   รักคุณเท่าฟ้า   การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า   Beautiful THAI    Touched by THAI   
      ปลายทางคือคุณ
 
Thai Smile Song -->  We Love Your Smile      Thai AirAsia Song -->  ใครๆก็บินได้
Nok Air Song -->  บินอย่างนก (นกแอร์)      Orient Thai Song -->  Fly Orient Thai
 
 

 
 
 
Tiwa Place /T-Plus Apartment
 
News Online
  • เดลินิวส์
  • กระแสหุ้น
  • กรุงเทพธุรกิจ
  • ข่าวสด
  • คมชัดลึก
  • ฐานเศรษฐกิจ
  • โพสต์ทูเดย์
  • มติชน
  • ไทยโพสต์
  • ไทยรัฐ
  • แนวหน้า
  • สยามกีฬา
  • Bangkok Post
  • The Nation
  •  


    เวลาทั่วโลก


      เวลาปัจจุบันขณะนี้
    ของเมืองต่างๆทั่วโลก

    Click ที่นี่
     


    กระเป๋าขึ้นเครื่อง

    อะไรสามารถนำติดตัว ?
    จำนวนเท่าไร ?
    ใหญ่แค่ไหน ?


    Click ที่นี่
     
    advertising
     
    เที่ยงตรง เที่ยงธรรม
     
     


    © Thai Technics.Com All Rights Reserved